เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเครือข่ายมิตรช้างป่า และพัฒนาแนวทางการดูแลกลุ่มอาสาผ่านระบบประกันชีวิต วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 ณ โครงการฟื้นฟูพืชอาหารช้างป่า ภูหลวง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเลย
ป้ายกำกับ: <span>การเฝ้าระวังช้างป่า</span>
แนวทางการใช้พื้นที่ร่วมกันระหว่างคนกับช้างป่า คนปลอดภัย ช้างปลอดภัย
ณ ศูนย์เรียนรู้ช้างป่ากลุ่มฟันน้ำนม บ้านหนองปรือกันยาง ต. ท่าตะเกียบ อ. ท่าตะเกียบ จ. ฉะเชิงเทรา
เครือข่ายเสียงคนเสียงช้างระดมทุนเพื่อสนับสนุนแสงไฟและอุปกรณ์สำหรับเฝ้าระวังช้างป่าใน 3 หมู่บ้าน ของ อ. ทองผาภูมิและศรีสวัสดิ์ จ. กาญจนบุรี
เครือข่ายเสียงคนเสียงช้างเปิดระดมทุนผ่านเทใจดอทคอม เพื่อสนับสนุนแสงไฟและอุปกรณ์สำหรับเฝ้าระวังช้างป่า
ระยะเวลาโครงการ 15 พ.ย. 2564 ถึง 15 พ.ค. 2565
กิจกรรมพื้นที่ทองผาภูมิ กันยายน 2564
กิจกรรมพื้นที่ ทองผาภูมิ เดือน กันยายน 2564
เครือข่ายเสียงคนเสียงช้างเข้าพื้นที่ทองผาภูมิ บริเวณบ้านภูเตย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ และบ้านดงเล็ก ตำบลด่านแม่แฉลบ อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงวันที่ 28 กันยายน ถึง 3 ตุลาคม 2564
กิจกรรมพื้นที่วิจัยใต้ร่มเย็น พฤศจิกายน 2563: เวที 2 ชุมชน กาญจนดิษฐ์-เขาน้อย
เวที 2 ชุมชน แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสถานการณ์ช้างป่าจากอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานีสู่ ตำบลเขาน้อย อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
กิจกรรมพื้นที่วิจัยกุยบรี ตุลาคม 2563: เสนอสร้างระบบเฝ้าระวังร่วมอุทยาน-ชุมชน
ทีมวิจัยท้องถิ่นคนกับช้างกุยบุรีนำเสนอข้อมูลวิจัยงานวิจัย และ เสนอสร้างระบบเฝ้าระวังร่วมรัฐ-ชุมชน เพื่อการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับช้างอย่างสันติ
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนกลุ่มเฝ้าระวังช้างป่าจากทีมวิจัยท้องถิ่นใต้ร่มเย็น เขาใหญ่และภูหลวง
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนกลุ่มเฝ้าระวังช้างป่า จากทีมวิจัย 3 พื้นที่: ใต้ร่มเย็น, ภูหลวง และเขาใหญ่ ณ วังน้ำเขียว นครราชสีมา
กิจกรรมพื้นที่วิจัยทองผาภูมิ ตุลาคม 2563: ถอดบทเรียนการเฝ้าระวังและเพาะชำกล้าไม้เพื่ออยู่ร่วมกับช้าง
ถอดบทเรียนกลุ่มเฝ้าระวังช้างป่าบ้านหม่องกะลา และพืชทางเลือกเพื่อการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับช้างป่าอย่างสันติ Elephant repellent patrolling unit and alternative crop management